Case study ของ Orange County (สามารถตอบในวิธีการแก้ปัญหาทางการเงินได้)
หน้า 1 จาก 1
Case study ของ Orange County (สามารถตอบในวิธีการแก้ปัญหาทางการเงินได้)
Case study ของ Orange County (สามารถตอบในวิธีการแก้ปัญหาทางการเงินได้)
1. ความผิดพลาดจากนโยบายทางการคลังและนโยบายทางการเงิน
2.สาเหตุ
2.1.ใช้กลยุทธ์แบบ Reverse Repurchase Agreement ของ Citron มีความเสี่ยงสูง คาดการณ์เหตุการณ์ในอนาคตผิดพลาด ซึ่งมองภาพการลงทุนด้านบวกเพียงด้านเดียว ความคิดเห็นของตนเป็นหลัก ขาดการตรวจสอบ โดยไม่ได้มองแบบองค์รวม
2.2 โครงสร้างทางการเมืองและการบริหารแบบแยกส่วน ทำให้ขาดการตรวจสอบอย่างรัดกุมซึ่งกันและกัน
2.3 วัฒนธรรมทางการเมืองของประชาชนแตกต่างกัน (กลุ่มรายได้ดี สามารถช่วยตนเองได้ ไม่ต้องเพิ่มภาษี รายได้น้อย ต้องการสวัสดิการทางสังคม ค่าใช้จ่ายมากขึ้น) และการมีส่วนร่วมของประชาชนในนโยบายทางการเงิน
2.4 ข้อจำกัดด้านการคลังของประเทศ (ค่าใช้จ่ายมากกว่ารายรับ ดอกเบี้ยเงินกู้สูงกว่าดอกเบี้ยที่ได้รับจากตราสารหนี้
3.แนวทางการแก้ไข
3.1 การบริหารการคลังอย่างมีประสิทธิภาพ บริหารแบบบูรณาการ
3.2 ต้องวิเคราะห์สถานภาพขององค์กรทั้งด้านรายรับและรายจ่าย
3.3 เพิ่มการจ้างงาน/กระตุ้นการลงทุน เพื่อเพิ่มปริมาณเงินในตลาด
3.4 ปรับภาษีการขาย ภาษีมรดก
3.5 ปรับโครงสร้างการทำงาน โดยการเจรจาร่วมทุน หาแหล่งเงินกู้ใหม่ ปรับระบบงบประมาณ ลดบุคลากร และระบบการตรวจสอบที่มีประสิทธิภาพ
3.6 ทุกนโยบายต้องได้รับความมือจากทุกภาคส่วนของสังคม
3.7 ผู้นำต้องรับฟังความคิดเห็นของประชาชน ทีมที่ปรึกษา และต้องมีข้อมูลอย่างกว้างขวาง ถูกต้องชัดเจน เพื่อประกอบการตัดสินใจ
4.ผลกระทบ
4.1 ขาดความเชื่อมั่นในเครดิต
4.2 หนี้สินเพิ่มขึ้น เพราะต้องแบ่งปันผลประโยชน์
4.3 ปัญหาทางสังคม ได้รับสวัสดิการน้อยลง คนว่างงานเพิ่มขึ้น
4.4 เก็บภาษีเพิ่มขึ้น
4.5 ระบบการบริหารดีขึ้น
5.ประเทศไทย เกิดขึ้นได้ เพราะ
5.1วัฒนธรรมทางการเมือง เชิงอนุรักษ์นิยม ตัดสินใจโดยผู้นำเพียงคนเดียวประชาชนไม่มีส่วนร่วมทางการเมือง
5.2 นำเงินงบประมาณไปลงทุนในรัฐสวัสดิการมากเกินไป
5.3 ขาดระบบการตรวจสอบจากทุกภาคส่วนของสังคม
5.4 การกระจายรายได้ที่ไม่เป็นธรรม
1. ความผิดพลาดจากนโยบายทางการคลังและนโยบายทางการเงิน
2.สาเหตุ
2.1.ใช้กลยุทธ์แบบ Reverse Repurchase Agreement ของ Citron มีความเสี่ยงสูง คาดการณ์เหตุการณ์ในอนาคตผิดพลาด ซึ่งมองภาพการลงทุนด้านบวกเพียงด้านเดียว ความคิดเห็นของตนเป็นหลัก ขาดการตรวจสอบ โดยไม่ได้มองแบบองค์รวม
2.2 โครงสร้างทางการเมืองและการบริหารแบบแยกส่วน ทำให้ขาดการตรวจสอบอย่างรัดกุมซึ่งกันและกัน
2.3 วัฒนธรรมทางการเมืองของประชาชนแตกต่างกัน (กลุ่มรายได้ดี สามารถช่วยตนเองได้ ไม่ต้องเพิ่มภาษี รายได้น้อย ต้องการสวัสดิการทางสังคม ค่าใช้จ่ายมากขึ้น) และการมีส่วนร่วมของประชาชนในนโยบายทางการเงิน
2.4 ข้อจำกัดด้านการคลังของประเทศ (ค่าใช้จ่ายมากกว่ารายรับ ดอกเบี้ยเงินกู้สูงกว่าดอกเบี้ยที่ได้รับจากตราสารหนี้
3.แนวทางการแก้ไข
3.1 การบริหารการคลังอย่างมีประสิทธิภาพ บริหารแบบบูรณาการ
3.2 ต้องวิเคราะห์สถานภาพขององค์กรทั้งด้านรายรับและรายจ่าย
3.3 เพิ่มการจ้างงาน/กระตุ้นการลงทุน เพื่อเพิ่มปริมาณเงินในตลาด
3.4 ปรับภาษีการขาย ภาษีมรดก
3.5 ปรับโครงสร้างการทำงาน โดยการเจรจาร่วมทุน หาแหล่งเงินกู้ใหม่ ปรับระบบงบประมาณ ลดบุคลากร และระบบการตรวจสอบที่มีประสิทธิภาพ
3.6 ทุกนโยบายต้องได้รับความมือจากทุกภาคส่วนของสังคม
3.7 ผู้นำต้องรับฟังความคิดเห็นของประชาชน ทีมที่ปรึกษา และต้องมีข้อมูลอย่างกว้างขวาง ถูกต้องชัดเจน เพื่อประกอบการตัดสินใจ
4.ผลกระทบ
4.1 ขาดความเชื่อมั่นในเครดิต
4.2 หนี้สินเพิ่มขึ้น เพราะต้องแบ่งปันผลประโยชน์
4.3 ปัญหาทางสังคม ได้รับสวัสดิการน้อยลง คนว่างงานเพิ่มขึ้น
4.4 เก็บภาษีเพิ่มขึ้น
4.5 ระบบการบริหารดีขึ้น
5.ประเทศไทย เกิดขึ้นได้ เพราะ
5.1วัฒนธรรมทางการเมือง เชิงอนุรักษ์นิยม ตัดสินใจโดยผู้นำเพียงคนเดียวประชาชนไม่มีส่วนร่วมทางการเมือง
5.2 นำเงินงบประมาณไปลงทุนในรัฐสวัสดิการมากเกินไป
5.3 ขาดระบบการตรวจสอบจากทุกภาคส่วนของสังคม
5.4 การกระจายรายได้ที่ไม่เป็นธรรม
Ton- Admin
- จำนวนข้อความ : 127
Join date : 03/05/2009
: 48
หน้า 1 จาก 1
Permissions in this forum:
คุณไม่สามารถพิมพ์ตอบ